บทความทั้งหมด

นำเสนอตัวอย่างการนำเทคโนโลยี BIM ไปใช้ในการบริหารงานก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ให้สามารถก่อสร้างแล้วเสร็จในระยะเวลาที่สั้นกว่าเดิมมาก

สานพลังหน่วยงานของรัฐสังกัดกระทรวงคมนาคมและกระทรวงพลังงาน สนับสนุนนโยบายเพิ่มการใช้พลังงานทดแทน ด้วยการนำร่องใช้น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว B20 ในรถโดยสารสาธารณะ ขสมก. และ บขส. เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมันไทย และลดมลภาวะทางอากาศ

ถึงเวลาที่คนไทยทั้งชาติต้องร่วมผลักดันประเทศไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการสร้างศักยภาพในด้านต่าง ๆ ไปพร้อมกัน เริ่มต้นอย่างแรก ด้วยการทำความเข้าใจกับ “ยุทธศาสตร์ชาติไทย” แบบง่าย ๆ เพื่อกำหนดหน้าที่และทิศทางในการมีส่วนร่วมเพื่อให้ประเทศชาติ “ดี” กว่าเดิม เห็นผลพร้อมกันภายใน 20 ปีนับจากนี้

จากเหตุการณ์รถกระบะตกลงมาจากอาคารจอดรถชั้น 6 ภายในกระทรวงสาธารณสุขเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ที่ผ่านมา ซึ่งโชคดีที่ไม่มีผู้เสียชีวิต เหตุการณ์รถยนต์ตกจากอาคารจอดรถเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นซ้ำซากหลายครั้งในอดีต เช่น เหตุรถยนต์พุ่งชนแผงกั้นรถยนต์ชั้น 3 อาคารห้างสรรพสินค้าแห่งในหนึ่งในเขตบางกะปิ ปี พ.ศ. 2558 มีผู้เสียชีวิต 1 ราย และรถยนต์ตกอาคารอพารต์เมนท์ ชั้น 4 บริเวณถนนพระราม 4 เมื่อปีพ.ศ. 2560 มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 1 ราย

แนวทางการออกแบบอาคารเขียว (Green Building) ตามเกณฑ์การประเมินของ LEED โดยรองศาสตราจารย์ ดร.พันธุดา พุฒิไพโรจน์ LEED AP

ตามที่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทอท. ได้เร่งรัดการก่อสร้างโครงการอาคารผู้โดยสาร แห่งที่ 2 (Terminal 2) ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ณ บริเวณทิศตะวันออกติดกับอาคารผู้โดยสารเดิม ซึ่งแตกต่างจากไปจากแผนแม่บท (Master Plan) ที่ได้ออกแบบไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 ด้วยความห่วงใยในการออกแบบการก่อสร้างและความปลอดภัยของโครงการดังกล่าว สภาวิศวกรพร้อมด้วยสภาสถาปนิกจึงได้จัดเสวนา “มาตรฐานความปลอดภัยสากลกับอาคารสนามบิน” เพื่อเป็นแนวทางออกแบบอาคารโครงสร้างอาคารใหญ่พิเศษให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น

สภาวิศวกร ร่วมยกระดับมาตรฐานวิชาชีพวิศวกรรมแก่วิศวกรขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ราว 7,000 คนทั่วประเทศ โดย จัดทีมคณะผู้ชำนาญการ ที่มีความรู้เชี่ยวชาญงานช่วยอบรมเจ้าหน้าที่ ติวเข้มความรู้วิชาการด้านงานวิศวกรรม เสริมแกร่งและยกระดับมาตรฐานวิศวกรท้องถิ่น โดยเฉพาะงานก่อสร้างทางและอาคาร

นักวิจัยชุดลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหว สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ถอดบทเรียนภัยพิบัติแผ่นดินไหวและสึนามิที่เกาะสุลาเวสี อินโดนีเซีย แนะจำเป็นต้องสร้างแบบจำลองในการประเมินความเสียหายในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบอย่างรวดเร็ว และบริหารจัดการบรรเทาภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเฉพาะแบบจำลองสึนามิจากข้อมูลความลึกของพื้นทะเล

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิที่ประเทศอินโดนิเซีย สำหรับประเทศไทย ควรถอดบทเรียนและป้องกันเหตุเหล่านี้ เพื่อให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด ประเทศไทยต้องรับมือกับเหตุการณ์เหล่านี้อย่างไรนั้น ศ. ดร. อมร พิมานมาศ เลขาธิการสภาวิศวกร กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า แผ่นดินไหวที่อินโดนีเซียมีขนาด 7.5 ริกเตอร์ ความลึกอยู่ที่ประมาณ 10 กิโลเมตร ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวในระดับตื้น ถ้าระดับลึกต้องเกิน 30 กิโลเมตรขึ้นไป แผ่นดินไหวระดับ 7.5 ริกเกตอร์ ถือว่าแรงแต่ก็ไม่น่าทำให้เกิดสินามิที่สูง 6 เมตรได้ เพราะที่ผ่านมา สึนามิจะเกิดขึ้นต้องเป็นแผ่นดินไหวระดับ 8-9 ริกเตอร์ขึ้นไป แต่ในกรณีที่เกิดขึ้นที่อินโดนิเซียนี้ เรียกได้ว่า อาจจะอยู่นอกการคาดหมายของนักวิทยาศาสตร์หลายๆ คน

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ตอบรับคำร้องขอจากประชาชนและได้เสนอข้อคิดเห็นทางวิศวกรรมและความปลอดภัย 5 ข้อ สำหรับการออกแบบโครงการก่อสร้างอาคารผู้โดยสาร (เทอร์มินัล) หลังที่ 2 สนามบินสุวรรณภูมิ มูลค่าก่อสร้าง 35,000 ล้านบาท เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมและประเทศ

มทร.อีสานเปิดวิทยาลัยระบบรางไทย-จีน หวังเป็นศูนย์กลางในการผลิตบุคลากรระบบรางให้กับกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง

ศ. ดร. อมร พิมานมาศ เลขาธิการ สภาวิศวกร ให้ข้อมูล.. เหตุการณ์ดินโคลนถล่มเกิดขึ้นได้ไม่ยาก โดยเฉพาะยิ่งหน้าฝน และในบางพื้นที่ เช่น ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ จะมีแนวภูเขาอยู่มาก ถ้าเข้าไปปลูกบ้านที่อยู่อาศัย หรือ ไปก่อสร้างบ้าน ตรงพื้นที่ราบเชิงเขาที่มีภูเขาติดกับที่ราบ ก็เป็นไปได้ว่า ภูเขาที่เป็นดิน หิน ทราย ถ้าเวลาผ่านไปนาน ๆ ตามกาลเวลา ย่อมผุพัง ยิ่งเมื่อเจอน้ำฝนในปริมาณมาก เมื่อดินเหล่านั้นจะอุ้มน้ำไม่ไหว ไหลตกลงมาตามทางราบ ปัญหาจะเกิดขึ้น ถ้ามีบ้านเรือนประชาชนอยู่ตรงบริเวณนั้น ก็จะได้รับผลกระทบจากดินโคลน เศษหินดินทราย รวมถึงการตัดไม้ทำลายป่า ก็จะทำให้เกิดเป็นทะเลโคลน ขึ้นได้ง่าย

กรุงเทพฯ - แดสสอลท์ ซิสเต็มส์ (Dassault Systèmes) เปิดตัว SOLIDWORKS 2019 ชุดผลิตภัณฑ์ด้านการออกแบบสามมิติและแอพพลิเคชันทางด้านวิศวกรรมใหม่ล่าสุด ที่ช่วยยกระดับประสิทธิภาพการทำงานและฟังก์ชั่นการใช้งาน ช่วยให้ผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมหลายล้านคนสามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์เข้าสู่กระบวนการการผลิตได้รวดเร็วยิ่งขึ้น สร้างประสบการณ์รูปแบบต่างๆ ตามประเภทของลูกค้าในยุคแห่งการปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industry Renaissance)

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้