มาตรฐานการเขียนแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดย วสท การเขียนแบบผังองค์อาคารและการเขียนแบบรายละเอียดองค์อาคารได้อิง Standard Method of Detailing Structural Concrete และ ACI Detailing Manualภาษาที่แสดงในแบบได้ใช้ทั้งสองภาษา แต่มีข้อแนะนำว่าหากเป็นงานขนาดเล็ก ซึ่งใช้ผู้รับจ้างระดับท้องถิ่นภาษาที่แสดงในแบบควรเป็นภาษาไทย หากเป็นงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ควรใช้เป็นภาษาอังกฤษเพื่อความเป็นสากลมาตรฐานนี้เป็นมาตรฐานที่ใช้เป็นข้อแนะนำในการเขียนแบบรูปที่แสดงเป็นการแสดงการเขียนแบบที่ถูกต้องรายละเอียดการเสริมเหล็กเป็นเพียงตัวอย่างซึ่งจะใช้เป็นเอกสารอ้างอิงทางกฎหมายในกรณีที่มีการละเมิดเกิดขึ้นมิได้
หมวดหมู่ : ร้านหนังสือวิศวกรรมและเทคโนโลยี , 
Share
โดยเนื้อหาด้านในประกอบด้วย
บทที่ 1 ทั่วไป 1
1.1 ข้อกำหนดทั่วไป 1
1.2 นิยามและสัญลักษณ์ 1
1.3 หน่วยวัด 4
บทที่ 2 การจัดเตรียมแบบและการเขียนแบบ 5
2.1 ขนาดของกระดาษเขียนแบบ 5
2.2 การจัดพื้นที่กระดาษเขียนแบบ 5
2.3 ระบบตารางอ้างอิง 12
2.4 มาตราส่วน 13
2.5 ความหนาและรูปแบบของเส้น 14
2.6 ตัวอักษรและตัวเลข 15
2.7 อักษรกำกับองค์อาคารและอักษรกำกับชื่อแบบ 16
2.8 การจัดเรียงลำดับแบบ 17
2.9 ข้อกำหนดประกอบแบบและข้อกำหนดพิเศษ 17
2.10 การแสดงแนวตัด การชี้พื้นที่ขยายรายละเอียดและการบอกชื่อรูป 18
บทที่ 3 การเขียนแบบตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 19
3.1 กริด 19
3.2 มิติ 20
3.3 การให้หมายเลของค์อาคารโครงสร้าง 24
3.4 ระดับ 24
3.5 สัญลักษณ์ของเหล็กเส้น 26
3.6 วิธีการเขียนเหล็กเส้น 26
3.7 การระบุชนิด ขนาด จำนวนและระยะเรียงของเหล็กเส้น 28
บทที่ 4 การตั้งชื่อและระบบการให้เลขที่แบบ 31
4.1 การตั้งชื่อเลขที่แบบ 31
4.2 ระบบการให้เลขที่แบบ 31
บทที่ 5 การเขียนแบบผังองค์อาคาร 35
5.1 ทั่วไป 35
5.2 การเขียนแบบผังเสาเข็ม 35
5.3 การเขียนแบบผังฐาน 37
5.4 การเขียนแบบผังชั้นต่าง ๆ 39
5.5 การเขียนแบบผังชั้นดาดฟ้าหรือหลังคา 43
บทที่ 6 การเขียนแบบรายละเอียดองค์อาคาร 45
6.1 ทั่วไป 45
6.2 ฐาน 45
6.3 เสา 48
6.4 คาน 51
6.5 แผ่นพื้น 55
6.6 กำแพงรับแรงเฉือน 60
6.7 บันได 62
จำนวน 65 หน้า