มาตรฐานการเขียนแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก (ราคารวมส่ง)

คุณสมบัติสินค้า:

มาตรฐานการเขียนแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดย วสท การเขียนแบบผังองค์อาคารและการเขียนแบบรายละเอียดองค์อาคารได้อิง Standard Method of Detailing Structural Concrete และ ACI Detailing Manualภาษาที่แสดงในแบบได้ใช้ทั้งสองภาษา แต่มีข้อแนะนำว่าหากเป็นงานขนาดเล็ก ซึ่งใช้ผู้รับจ้างระดับท้องถิ่นภาษาที่แสดงในแบบควรเป็นภาษาไทย หากเป็นงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ควรใช้เป็นภาษาอังกฤษเพื่อความเป็นสากลมาตรฐานนี้เป็นมาตรฐานที่ใช้เป็นข้อแนะนำในการเขียนแบบรูปที่แสดงเป็นการแสดงการเขียนแบบที่ถูกต้องรายละเอียดการเสริมเหล็กเป็นเพียงตัวอย่างซึ่งจะใช้เป็นเอกสารอ้างอิงทางกฎหมายในกรณีที่มีการละเมิดเกิดขึ้นมิได้

Share

โดยเนื้อหาด้านในประกอบด้วย

บทที่ 1 ทั่วไป 1
1.1 ข้อกำหนดทั่วไป 1
1.2 นิยามและสัญลักษณ์ 1
1.3 หน่วยวัด 4
บทที่ 2 การจัดเตรียมแบบและการเขียนแบบ 5
2.1 ขนาดของกระดาษเขียนแบบ 5
2.2 การจัดพื้นที่กระดาษเขียนแบบ 5
2.3 ระบบตารางอ้างอิง 12
2.4 มาตราส่วน 13
2.5 ความหนาและรูปแบบของเส้น 14
2.6 ตัวอักษรและตัวเลข 15
2.7 อักษรกำกับองค์อาคารและอักษรกำกับชื่อแบบ 16
2.8 การจัดเรียงลำดับแบบ 17
2.9 ข้อกำหนดประกอบแบบและข้อกำหนดพิเศษ 17
2.10 การแสดงแนวตัด การชี้พื้นที่ขยายรายละเอียดและการบอกชื่อรูป 18
บทที่ 3 การเขียนแบบตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 19
3.1 กริด 19
3.2 มิติ 20
3.3 การให้หมายเลของค์อาคารโครงสร้าง 24
3.4 ระดับ 24
3.5 สัญลักษณ์ของเหล็กเส้น 26
3.6 วิธีการเขียนเหล็กเส้น 26
3.7 การระบุชนิด ขนาด จำนวนและระยะเรียงของเหล็กเส้น 28
บทที่ 4 การตั้งชื่อและระบบการให้เลขที่แบบ 31
4.1 การตั้งชื่อเลขที่แบบ 31
4.2 ระบบการให้เลขที่แบบ 31
บทที่ 5 การเขียนแบบผังองค์อาคาร 35
5.1 ทั่วไป 35
5.2 การเขียนแบบผังเสาเข็ม 35
5.3 การเขียนแบบผังฐาน 37
5.4 การเขียนแบบผังชั้นต่าง ๆ 39
5.5 การเขียนแบบผังชั้นดาดฟ้าหรือหลังคา 43
บทที่ 6 การเขียนแบบรายละเอียดองค์อาคาร 45
6.1 ทั่วไป 45
6.2 ฐาน 45
6.3 เสา 48
6.4 คาน 51
6.5 แผ่นพื้น 55
6.6 กำแพงรับแรงเฉือน 60
6.7 บันได 62

จำนวน 65 หน้า

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้